วารสาร

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง
Topic Review

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus : SE) เป็น ภาวะฉุกเฉินโรคทางระบบประสาท มีอัตราการเสียชีวิตสูง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการเสียชีวิตขึ้นกับสาเหตุ ของ SE โดยเฉพาะภาวะ hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) และการรักษาที่รวดเร็วควบคุมอาการชักได้เร็วภายใน 30-60 นาทีแรกหรือไม่...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- การพัฒนาและผลการดำเนินงานโรงพยาบาลเครือข่ายระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Fast Track) จังหวัดบึงกาฬ - Prevalence of Small Fiber Neuropathy in Idiopathic Parkinson’s Disease Patients - สาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระบะเฉียบพลันในโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า - ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก - Status Epilepticus: Time is Brain - พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2228 - 9801
Clinical Outcomes and Risk Factors for Mortality in Status Epilepticus Patients
Original Article

Clinical Outcomes and Risk Factors for Mortality in Status Epilepticus Patients

Montana Pothong, Apisit Boongird

Status epilepticus (SE) is a time-sensitive emergency condition which is associated with high short-term mortality. Over the past decades, major advances in SE have been notably observed. There are numerous factors which predict outcome in SE such as age, type of seizure, duration of seizure, pre-existing comorbidities, and de novo seizure.

มกราคม - มีนาคม 2567
Efficacy and Safety of Perampanel in Super-refractory Status Epilepticus
Original Article

Efficacy and Safety of Perampanel in Super-refractory Status Epilepticus

Jirachaya Deesuwan, Apisit Boongird

Super-refractory status epilepticus (SRSE) is defined as status epilepticus (SE) that continues for 24 hours or more after the onset of anesthetic therapy, including those in whom SE recurs while on proper anesthetic treatment or after withdrawal of anesthetic agents.

มกราคม - มีนาคม 2567
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- The Development of Sleep Condition Indicator (SCI) Thai Version to Diagnose and Follow Up Thai Patients with Insomnia - Risk of Distal Embolization in Acute Large Arterial Occlusion Prior to Endovascular Stroke Treatment in Neurological Institute of Thailand - Cost of Treatment for In-patient with Acute Stroke - Efficacy and Safety of Perampanel in Super-refractory Status Epilepticus - Clinical Outcomes and Risk Factors for Mortality in Status Epilepticus Patients - Utilization of the Athens Insomnia Scale-Thai Version (AIS-Thai) among Thai People - Comparison of Maternal and Fetal Outcomes, In Epileptic and Non-Epileptic Mothers - Relationship between Atrial Fibrillation and Worse Outcomes in Stroke Patients after Intravenous Thrombolysis - การใช้ Siponimod ในการรักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

มกราคม - มีนาคม 2567 ISSN 2228 - 9801
Comparison Efficacy and Safety of Intravenous Push Levetiracetam Vs Midazolam for Seizure Termination in Non-Convulsive Status Epilepticus. A Double- Blind Randomized Controlled Trial
Original Article

Comparison Efficacy and Safety of Intravenous Push Levetiracetam Vs Midazolam for Seizure Termination in Non-Convulsive Status Epilepticus. A Double- Blind Randomized Controlled Trial

Siriporn Apirukaramwong, Puchit Sukphulloprat

Non-convulsive status epilepticus (NCSE) refers to a prolong seizure that manifests primarily as altered mental status as opposed to the dramatic convulsions seen in generalized tonic-clonic status epilepticus. Subtle status epilepticus (SSE) is the type of NCSE must be considered in comatose patients who present after a prolong generalized tonic-clonic seizure...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 39 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- Comparison of Early Onset versus Late Onset Neuromyelitis Optica Spectrum Disorders: Clinical Characteristics and Outcomes at A University Hospital, Northeastern Thailand - Gray Matter to White Matter (GM/WM) Density Ratio Prediction on Computed Tomography in Cardiac Arrest Patients - Correlation between D-Dimer Level and Ischemic Stroke in COVID-19 Patients in Rajavithi Hospital - Relationship of Core Growth Rate, Collateral Circulation Status and Clinical Outcome in Patients with Acute Ischemic Stroke from Anterior Circulation Occlusion - Comparison Efficacy and Safety of Intravenous Push Levetiracetam Vs Midazolam for Seizure Termination in Non-Convulsive Status Epilepticus. A Double-Blind Randomized Controlled Trial - Factors Associated with Prolonged Hospital Stays in Acute Stroke Unit - ความน่าเชื่อถือของการใช้สมาร์ตโฟนเพื่อประเมินคะแนน National Institutes of Health Stroke Scale ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน - การใช้ยาคาริพราซีนในการรักษาโรคจิตเภทในผู้ใหญ่

ตุลาคม - ธันวาคม 2566 ISSN 2228 - 9801
A Young Lady with Stroke-like Episodes and Status Epilepticus
Interesting Case

A Young Lady with Stroke-like Episodes and Status Epilepticus

จีรพัทธ์ พลับอินทร์,สัญสณีย์ พงษ์ภักดี

นักศึกษาหญิงไทยโสด อายุ 20 ปี ไม่มีโรคประจำตัว มีอาการเกร็งกระตุกทั่วตัว 1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล โดย 3 สัปดาห์ก่อน ขณะกำลังนั่งรถเมล์กลับบ้าน ผู้ป่วย รู้สึกว่ามองเห็นภาพมัวลง มองเห็นไม่ชัดทั้งสองข้าง ร่วมกับมีอาการเห็นภาพเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นจริงใน อดีต หลังจากถึงบ้านผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน 3-4 ครั้ง หลังจากนั้นผู้ป่วยรู้สึกว่าตาทั้งสองข้างมองไม่เห็น จึงให้มารดานำส่งที่โรงพยาบาล

มกราคม - มีนาคม 2564
อัตราการเสียชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Original Article

อัตราการเสียชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

Wisan Teeratantikanon,Pawut Mekawichai

ภาวะชักต่อเนื่องเป็นภาวะฉุกเฉิน ทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย และการรักษาที่ทันท่วงทีส่งผลดีต่อผลการรักษาอย่าง มาก วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือศึกษาอัตราการเสีย ชีวิตของภาวะชักต่อเนื่องและศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเสียชีวิตของภาวะชักต่อเนื่องในโรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา

มกราคม - มีนาคม 2564